ความหมายและชนิดของไวน์และสุราพื้นบ้าน
.
ไวน์ ( wine )
• เครื่องดื่มที่ได้จากการหมักองุ่น ( หรือน้ำผลไม้ ) ด้วยยีสต์
• เกิดแอลกอฮอล์ และ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และกลิ่นรส
• แอลกอฮอล์ 9 - 14 % โดยปริมาตร
ชนิดของไวน์• แบ่งตามปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
• ไวน์แดง
• ไวน์ขาว
• โวน์โรเซ่
.
• เทเบิลไวน์ (table wine) 9 – 14 % – ใช้ดื่มพร้อมอาหาร
• ฟอร์ติไฟด์ไวน์ (fortified wine) 14 – 24 %
– โดยเติมสุรากลั่นลงในไวน์เพื่อเพิ่มแอลกอฮอล์
– เป็นไวน์หวานที่มีแอลกอฮอล์สูง ใช้ดื่มหลังอาหาร
– เช่น เชอรี่ (sherry) พอร์ต (port)
.
• ไวน์ไม่หวาน (dry wine)
• ไวน์หวานเล็กน้อย (semi-dry wine)
• ไวน์หวาน (dry wine)
แบ่งตามปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
• ไวน์ไม่มีฟอง (still wine)
• ไวน์มีฟอง (sparkling wine) เช่นแชมเปญ
– เกิดจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในขวด
• แบ่งตามพันธุ์องุ่น > 100 พันธุ์
– Cabernet Sauvignon
– Shiraz
– Chardonnay
องุ่น Vitis vinifera
• มีกว่า 100 พันธุ์ แต่มี 9 พันธุ์ทำไวน์ได้ดีมาก
• องุ่นแดง
– Cabernet Sauvignon, Pinot Noir, Merlot, Syrah (Shiraz)
• องุ่นขาว
– Riesling, Chardonnay, Semillon, Sauvignon Blanc, Chenin Blanc
การจำแนกประเภทของสุราพื้นบ้าน
สุราแช่และผลิตภัณฑ์
หมาย ความว่า สุราแช่ชนิดสุราผลไม้ สุราแช่พื้นเมือง และผลิตภัณฑ์จากผลผลิตทางการเกษตรที่มีแอลกอฮอล์ไม่เกิน 15 ดีกรีซึ่งไม่รวมถึงสุราแช่ชนิดเบียร์
สุรากลั่น
ซึ่งนำวัตถุดิบจำพวกข้าวหรือแป้ง / ผลไม้ / ผลผลิตทางเกษตรอื่น ๆ ไปหมัก กับเชื้อ สุรา เพื่อเกิดแอลกอฮอล์และมีแอลกอฮอล์เกินกว่า 15 ดีกรี แต่ไม่เกิน 40 ดีกรี
สุราพื้นบ้าน
สุราพื้นบ้าน คือเครื่องดื่มที่เกิดจากภูมิปัญญาไทยแต่โบราณ มีหลายชนิด เรียกชื่อต่างๆ กัน เช่น อุ กระแช่ สาโท น้ำขาว น้ำแดง น้ำตาลเมา เป็นต้น
ประเภทของสุราพื้นบ้าน
สาโท ( ชื่อพ้อง น้ำขาว เหล้าโท กระแช่ ) เป็นสุราแช่มี ความแรงแอลกอฮอล์ไม่เกิน 15 ดีกรี ตามพระราชบัญญัติสุรา พ . ศ .2493 หมายถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์พื้นเมืองของไทยทำจากการหมักข้าวเหนียวนึ่งหมักด้วยลูกแป้ง ( เป็นแหล่งของจุลินทรีย์ หลายชนิด ทั้งที่จำเป็นมีประโยชน์ต่อการหมักและชนิดที่ไม่จำเป็น)
ตัวอย่างสาโท
• ชื่อเรียกอื่น “ ช้างงาเดียว ” หรือ เหล่าขี้แกลบ (ของเฉพาะ ท้องถิ่นของชนชาติลาวเผ่า “ ผู้ไท ” พบมากใน ภาคอิสาน
• กรรมวิธีการผลิต คล้ายสาโท แต่จะใส่แกลบผสม กับข้าวเหนียวและลูกแป้ง
• ลักษณะผลิตภัณฑ์ เป็นของเหลว สีชา หรือน้ำตาลอ่อน รสหวาน เฝื่อนเล็กน้อย รสหวานอร่อยกว่าสาโท
• นิยมดื่มในงานฉลองหรือมีแขกมาเยี่ยมเยือน โดยใช้ก้านมะละกอ หรือหลอดไม้ซาง ยาวประมาณ 20-30 เซนติเมตร เจาะรูที่ทาง ปลาย
ตัวอย่างอุ
• มีชื่อเรียกแตกต่างกัน แต่ละท้องที่ เช่น “ กะแช่ ” “ ไอ้เป้ ” ภาคใต้เรียกว่า “ ตะหวาก ” หรือ “ หวาก ”
• ลักษณะของผลิตภัณฑ์ เป็นของเหลวขุ่น มีฟองดื่มแล้วซ่าลิ้น รส หอมหวาน มีรสเฝื่อนเล็กน้อย นิยมดื่มสด
• วัตถุดิบที่ใช้ ได้แก่ น้ำตาลจากจั่นมะพร้าว น้ำตาลโตนด หรือ น้ำตาลปึกหรือน้ำตาลปี๊บ
( จากน้ำตาลโตนด เรียก “ น้ำเมาลูก ยอด ” จากน้ำตาลปี๊บเรียก “ มหาละลาย ”)
• ได้จากการนำสาโทมากลั่น หรือเหล้าอื่นที่ได้จากการหมักผลผลิต ทางการเกษตรเกือบทุกชนิด เช่น ข้าวเหนียว ข้าวเจ้า ข้าวโพด ผลไม้หรือ น้ำอ้อย น้ำตาลสด กากน้ำตาล
• ลักษณะของผลิตภัณฑ์ ใสคล้ายน้ำดื่ม น้ำกรอง หรือ น้ำกลั่น มี รสร้อนแต่ออกหวานเล็กน้อย มีกลิ่นของวัตถุดิบ เช่น ข้าว ผลไม้ ปกติมีแรงแอลกอฮอล์ 35- 4 0 ดีกรี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
อารายเหรอ